เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1455 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1624 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8346 รูป
สามเณร
292 รูป
แม่ชี
87 รูป
ศิษย์วัด
38 คน
บุคคลทั่วไปชาย
41 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
53 คน
ทั้งหมด
8857 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
46 รูป
สามเณร
25 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
75 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7182 รูป
ลาสิกขา
42 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

ผ้าทอตีนจกลาวครั่ง ณ วัดบ่อกรุ

ลาวครั่ง เป็นกลุ่มผู้มีเชื้อสายลาวกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาศัยอยู่ในภาคกลางของประเทศไทยเช่นในจังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดอุทัยธานี ฯลฯ ลาวครั่ง มักจะเรียกตนเองว่า "ลาวขี้ครั่ง“ หรือ "ลาวคั่ง“

ความหมายของ
คำว่า "ลาวครั่ง“ ยังไม่ทราบความหมายที่แน่ชัดบางท่านสันนิฐานว่ามาจากคำว่า "ภูฆัง” ซึ่งเป็ นชื่อของภูเขาที่มีลักษณะคล้ายระฆัง
อยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของหลวงพระบางในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยถูกกวาดต้อนให้อพยพเข้ามาตั้ง
ถิ่นฐานในประเทศไทย คาดว่าสืบเชื ้อสายมาจากกลุ่มบรรพบุรุษที่อพยพมาต่างเวลา และต่างถิ่นฐานกัน สันนิษฐานว่าน่าจะอพยพ
มาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี มีสำเนียงภาษาพูดที่ใช้ผิดเพี้ยนกันบ้าง แต่มีวัฒนธรรมคล้ ายคลึงกัน สิ่งที่บ่งบอกเอกลักษณ์ของ
กลุ่มวัฒนธรรมชาวลาวครั่งเด่นชัดคือ การแต่งกายและสิ่งทอ จึงสันนิษฐานได้ว่าในอดีตกลุ่มชนเหล่านี้มีบรรพบุรุษเดียวกัน
คนไทยเชื้อสายลาวครั่งมีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของตนเองได้แก่ ภาษา การแต่งกาย ประเพณี และพิธีกรรมความเชื่อ
ต่าง ๆ โดยได้ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็ นระยะเวลายาวนาน ผ้าทอของลาวครั่งที่เป็ นเอกลักษณ์มีความสำคัญในวิถีชีวิตของกลุ่มชาติ
พันธุ์ ตั้งแต่ใช้สำหรับเป็นเครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้สอยภายในบ้านและใช้ในพิธีกรรม เช่น พิธีไหว้ ผีบรรพบุรุษ ยังใช้เพื่อการศาสนา
ได้แก่การท าธง อาสนะ ผ้าคลุมหัวนาค ผ้าติดธรรมาสน์ ส่วนผ้าตีนจกจะทอขึ้นเพื่อใช้ในเวลามีงานบุญ งานมงคลสมรส เป็นต้น
การแต่งกายของคนไทยเชื้อสายลาวครั่งจะมีแบบฉบับ เป็นของตนเองซึ่งนำวัสดุจากธรรมชาติในท้องถิ่นคือ ฝ้ายและไหม 
มาใช้ ในการทอ ซึ่งเทคนิคที่ใช้ มีทั้งการจกและมัดหมี่ ผ้าที่เป็ นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของชาวลาวครั่งคือ ผ้าซิ่นมัดหมี่ต่อตีนจก 
ซึ่งมีลายผ้าเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น ผ้าจกลาวครั่งต่างจากกลุ่มอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัดคือการใช้สีที่ให้ความรู้สึกร้อนแรง เช่น สีแดงครั่ง สีส้มหมากสุก สีเหลือง และลวดลายผ้าทอที่ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว

ไฟล์แนบเพิ่มเติม

ไฟล์แนบ 1
(182.2 kb)

ไฟล์แนบ 2
(179.73 kb)

ไฟล์แนบ 3
(200.91 kb)

โดย : วัดบ่อกรุ

ที่อยู่ : ต.บ่อกรุ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

จำนวนเข้าดู : 126

ปรับปรุงล่าสุด : 21 มกราคม พ.ศ. 2565 21:47:25

ข้อมูลเมื่อ : 21 มกราคม พ.ศ. 2565 21:47:25

 
 
 
 

ข่าวประชาสัมพันธ์ 10 อันดับ

กิจกรรม “โรงเรียนผู้สูงอายุ”

โดย วัดสาลี

ข้อมูลเมื่อ : 19-09-2567

เปิดดู : 6

กิจกรรมวันมหิดล

โดย วัดสาลี

ข้อมูลเมื่อ : 19-09-2567

เปิดดู : 5

กิจกรรมตลาดนัดวันเสาร์

โดย วัดสาลี

ข้อมูลเมื่อ : 19-09-2567

เปิดดู : 5

ทำบุญวันพระ

โดย วัดสาลี

ข้อมูลเมื่อ : 19-09-2567

เปิดดู : 4